ในสมัยที่พระผู้มีพระภาคเจ้ ายังมิได้ทรงบัญญัติการจำพร รษาแก่ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นเที่ยวจาริกไ ปตลอดฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน พวกชาวบ้านจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบ ุตร จึงได้เที่ยวไปตลอดฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน เหยียบย่ำพืชพันธุ์ต่างๆ เสียหายเป็นจำนวนมาก และยังเบียดเบียนสัตว์เล็ก ๆ จำนวนมากให้ถึงความตายภิกษุทั้งหลายได้ยินคนพวกนั ้นเพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนา จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ ผู้มีพระภาคเจ้า ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปรารภ เหตุที่เกิดขึ้นนั้น แล้วรับสั่งกับภิกษุทั้งหลา ยว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้จำพรรษา
วันเข้าพรรษานี้มี 2 อย่าง คือ 1.ปุริมิกา วันเข้าพรรษาต้น หมายถึง เมื่อวันเพ็ญอาสาฬหะผ่านไปแ ล้ว วันถัดไปพึงเข้าพรรษาต้น คือวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 2.ปัจฉิมิกา วันเข้าพรรษาหลัง หมายถึง ถัดจากวันเพ็ญอาสาฬหะไปอีก 1 เดือน พึงเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 การเข้าพรรษานั้นพระภิกษุต้ องอยู่จำพรรษาตลอด 3 เดือน ห้ามไปค้างแรมที่ไหน แต่ก็มีกรณียกเว้น สามารถไปค้างแรมได้ เรียกว่า สัตตาหกรณียะ หมายถึง เมื่อมีเหตุจำเป็น พึงไปค้างแรมได้ 7 วัน ดังมีเรื่องราวดังต่อไปนี้
ในสมัยหนึ่งได้มีอุบาสกชื่อ อุเทน มีจิตศรัทธาได้สร้างวิหารถว ายสงฆ์ไว้ในโกศลชนบท เขามีความปรารถนาจะถวายทาน ฟังธรรม และอยากพบเห็นภิกษุทั้งหลาย จึงได้ส่งบริวารไปกราบนิมนต ์พระภิกษุ
บริวารจึงไปกราบนิมนต์พระภิ กษุสงฆ์ทั้งหลาย แต่พระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายเหล ่านั้นปฏิเสธการนิมนต์เนื่อ งจากเวลานั้นอยู่ในช่วงของก ารจำพรรษา ไม่สามารถไปค้างแรมได้ บริวารจึงกลับไปแจ้งให้อุเท นทราบ เขาจึงกล่าวโทษ ติเตียนภิกษุเหล่านั้นว่า เราส่งบริวารไปนิมนต์แล้วก็ ไม่มาทั้งๆ ที่ตนก็เป็นทายก เป็นผู้ก่อสร้างวิหาร เป็นผู้บำรุงสงฆ์ ภิกษุทั้งหลายได้ยินคำติเตี ยนนั้น จึงได้นำความไปกราบทูลแด่พร ะผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงมี พุทธานุญาตให้สัตตาหกรณียะไ ด้ หมายถึง เมื่อมีเหตุจำเป็น พึงไปค้างคืนได้ 7 วัน เหตุจำเป็นมี 5 ประการคือ
บริวารจึงไปกราบนิมนต์พระภิ
1. ทายกปรารถนาจะถวายทานและฟัง ธรรม โดยส่งคนมานิมนต์ ทรงอนุญาตให้ไปได้เฉพาะที่เ ขาส่งคำนิมนต์มา ถ้าไม่ส่งคำนิมนต์มาไม่ให้ไ ป
2. เพื่อนภิกษุและสามเณรอาพาธเ กิดความฟุ้งซ่าน มีความเห็นผิด ต้องอาบัติหนักต้องการเข้าป ริวาส ไปเพื่อให้มานัต ให้อัพภาน เพื่อให้เธอออกจากอาบัตินั้ น
3. สามเณรต้องการอุปสมบท ไปเพื่อให้อุปสมบท
4. บิดา มารดา พี่น้อง หรือญาติของภิกษุป่วย ไปเยี่ยมไข้ได้
5. ไปเพื่อทำกิจของสงฆ์ เช่น สิ่งก่อสร้างภายในวัดชำรุด แล้วจำเป็นต้องไปหาวัสดุอุป กรณ์ต่างๆมาปฏิสังขรณ์
5. ไปเพื่อทำกิจของสงฆ์ เช่น สิ่งก่อสร้างภายในวัดชำรุด แล้วจำเป็นต้องไปหาวัสดุอุป
เมื่อมีเหตุเกิดขึ้นที่ไม่ส ามารถจะจำพรรษาในที่นั้นๆ ต่อไปได้ ทรงมีพุทธานุญาตให้งดการจำพ รรษา ไปอยู่ที่อื่นได้โดยไม่ผิดพ ระธรรมวินัย คือ
1. ถูกสัตว์ร้ายรบกวน
2. ถูกโจรปล้น
3. วิหารถูกไฟไหม้ หรือถูกน้ำท่วม
4. ชาวบ้านถูกโจรปล้น อพยพหนีไป ทรงอนุญาตให้ไปกับเขาได้ หรือถ้าชาวบ้านแตกกันเป็น 2 ฝ่าย ทรงอนุญาตให้ไปกับฝ่ายข้างม ากได้ หรือถ้าฝ่ายข้างมากไม่มีศรั ทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาก ็ทรงอนุญาตให้ไปกับฝ่ายน้อย ที่เลื่อมใสได้
5. ขาดแคลนอาหารหรือยารักษาโรค หรือขาดผู้บำรุง ได้รับความลำบาก ทรงอนุญาตให้ไปได้
6. ถ้ามีผู้เอาทรัพย์มาล่อ (ต้องการจะให้ลาสิกขา เอาทรัพย์สมบัติ ที่ไร่ที่นา และลูกสาวมาล่อให้สึก) ทรงอนุญาตให้หลีกไปได้
7. ภิกษุสงฆ์แตกกัน หรือมีผู้พยายามให้แตกกัน หรือทำให้แตกกันแล้ว ไปเพื่อหาทางระงับได้
3. วิหารถูกไฟไหม้ หรือถูกน้ำท่วม
4. ชาวบ้านถูกโจรปล้น อพยพหนีไป ทรงอนุญาตให้ไปกับเขาได้ หรือถ้าชาวบ้านแตกกันเป็น 2 ฝ่าย ทรงอนุญาตให้ไปกับฝ่ายข้างม
5. ขาดแคลนอาหารหรือยารักษาโรค
6. ถ้ามีผู้เอาทรัพย์มาล่อ (ต้องการจะให้ลาสิกขา เอาทรัพย์สมบัติ ที่ไร่ที่นา และลูกสาวมาล่อให้สึก) ทรงอนุญาตให้หลีกไปได้
7. ภิกษุสงฆ์แตกกัน หรือมีผู้พยายามให้แตกกัน หรือทำให้แตกกันแล้ว ไปเพื่อหาทางระงับได้
ส่วนสถานที่ที่ควรจำพรรษานั้นควรเป็นสถานที่ที่สัปปายะ เช่นเป็นสถานที่ไม่ไกลจากหม ู่บ้านเกินไป ไม่ใกล้กับหมู่บ้านเกินไป มีการคมนาคมที่สะดวก ไปมาสะดวก กลางวันคนไม่มาก ไม่พลุกพล่าน กลางคืนเงียบสงบ ไม่มีชาวบ้านเข้ามารบกวน เป็นสถานที่ลับตามนุษย์ เป็นสถานที่เหมาะสมสำหรับบร รพชิตผู้รักสงบ ต้องการหลีกเร้น
ส่วนสถานที่จำพรรษาที่พระสั มมาสัมพุทธเจ้าทรงผ่อนผันอน ุญาตให้จำพรรษาในที่บางแห่ง ได้นั้น ในกรณีที่พระภิกษุผู้ที่กำล ังเดินทางไปกับพวกเลี้ยงโคต ่างๆ ซึ่งเป็นโคเดินทาง หรือหมู่เกวียน หรือโดยสารไปในเรือ เพื่อจะไปยังสถานที่ใดที่หน ึ่ง ในขณะเดินทางอยู่พอดีถึงวัน เข้าพรรษา พึงเข้าจำพรรษาในขบวนเดินทา งนั้นๆ ได้ เมื่อพวกคนเลี้ยงโค ก็ดีหมู่เกวียนก็ดี หรือเรือโดยสารก็ดี เดินทางต่อไป ทรงอนุญาตให้ไปกับเขาได้ โดยอธิษฐานพรรษาว่า อิธ วสฺสํ อุเปมิ แปลว่า ข้าพเจ้าเข้าจำพรรษาในที่นี้
เมื่อถึงตำบลที่พระภิกษุประ สงค์จะไป ท่านอนุญาตให้อยู่จำพรรษาใน ที่นั้นได้ แต่ถ้ายังไม่ถึงตำบลที่พระภ ิกษุนั้นประสงค์จะไป พวกคนเลี้ยงโคก็ดี หมู่เกวียนก็ดี หรือเรือโดยสารก็ดี หยุดเดินทางเพราะสิ้นสุดการ เดินทาง ท่านแนะให้อยู่จำพรรษากับพร ะภิกษุในตำบลที่หยุดการเดิน ทางนั้นต่อไป ในกรณีนี้ถือว่าไม่ขาดพรรษา
ทรงห้ามจำพรรษาในที่ไม่สมคว ร เช่น
1.ในโพรงไม้ เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท ษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกปีศาจ
2.บนกิ่งหรือค่าคบไม้ เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท ษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือน พวกพรานเนื้อ
3.ที่กลางแจ้ง เพราะเมื่อฝนตก ก็พากันวิ่งเข้าไปสู่โพรงไม ้บ้าง สู่ชายคาบ้าง แลดูไม่งาม ไม่เหมาะสมกับสมณสารูป
4.ที่ไม่มีเสนาสนะ คือที่นอนที่นั่งซึ่งไม่มีท ี่มุงบัง เพราะจะเดือดร้อนด้วยความหน าวบ้าง ความร้อนบ้าง ทำให้ไม่สามารถบำเพ็ญสมณธรร มได้
5.ในกระท่อมผี (คนโบราณชอบทำกระท่อมไว้ในป ่าช้า เพื่อให้ผีอยู่) เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท ษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือน พวกสัปเหร่อ
6.ในกลดหรือเต๊นท์ เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท ษ ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือน พวกเลี้ยงวัว
7.ในตุ่ม เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท ษ ติเตียน โพนทะนา
Cr ;
ใจหยุด 24 น.2.บนกิ่งหรือค่าคบไม้ เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท
3.ที่กลางแจ้ง เพราะเมื่อฝนตก ก็พากันวิ่งเข้าไปสู่โพรงไม
4.ที่ไม่มีเสนาสนะ คือที่นอนที่นั่งซึ่งไม่มีท
5.ในกระท่อมผี (คนโบราณชอบทำกระท่อมไว้ในป
6.ในกลดหรือเต๊นท์ เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท
7.ในตุ่ม เพราะคนทั้งหลายพากันเพ่งโท
Cr ;
ไม่มีความคิดเห็น