แหล่งน้ำศักดิ์สิทธิ์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มาจากที่ใดบ้าง
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระมหากษัตริย์ที่จะขึ้น เถลิงถวัลย์ราชสมบัติ ในขั้นตอนการเตรียมพิธีจะต้ องมีการตักน้ำจากแหล่งสำคัญสำหรับนำมาเป็นน้ำสรงพระมุร ธาภิเษก และเพื่อทำน้ำอภิเษกก่อนที่ จะนำไปประกอบในพระราชพิธีบร มราชาภิเษก ซึ่งน้ำที่นำมาจะต้องมีความ พิเศษกว่าน้ำธรรมดาทั่วไป
โดยตามตำราโบราณของพราหมณ์ จะต้องเป็นน้ำที่มาจาก “ปัญจมหานที” หรือ แม่น้ำสายสำคัญ 5 สายในชมพูทวีป ได้แก่ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมนา แม่น้ำมทิ แม่น้ำอจิรวดี และแม่น้ำสรภู โดยน้ำในแม่น้ำทั้ง 5 จะไหลมาจากเขาไกรลาส ซึ่งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิท ธิ์และที่สถิตของพระอิศวร
สมัยสุโขทัยมาจนถึงสมัยอยุธ ยาแม้จะมีการกล่าวถึงพระราช พิธีบรมราชาภิเษก แต่ก็ไม่พบหลักฐานการนำน้ำป ัญจมหานทีในชมพูทวีปมาใช้ใน ราชพิธี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าการเดิน ทางไปกลับระหว่างประเทศไทยใ นอดีตและประเทศอินเดียเป็นไ ปได้ยากที่จะนำน้ำจากปัญจมห านทีมาใช้ได้ เพราะตามธรรมเนียมประเพณีมา แต่เดิม เมื่อกษัตริย์พระองค์ใดเสด็ จผ่านพิภพ จะต้องทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกภายใน 7 วัน หรืออย่างช้าภายในเดือนเศษ เป็นประเพณีสืบมาและกระทำกั นก่อนที่จะถวายพระราชเพลิงพ ระบรมศพพระเจ้าแผ่นดินองค์ก ่อน จึงสันนิษฐานได้ว่า ถ้าจะนำน้ำมาจากชมพูทวีปจึง เป็นไปไม่ได้
แต่จากหลักฐานการใช้น้ำศักด ิ์สิทธิ์มาใช้ในพระราชพิธีบ รมราชาภิเษกก็ปรากฏในหลักศิ ลาจารึกวัดศรีชุมของพญาลิไท แห่งสุโขทัยที่ได้กล่าวถึงพ ่อขุนผาเมืองอภิเษกพ่อขุนบา งกลางหาวให้เป็นผู้ปกครองสุ โขทัย และข้อความในศิลาจารึก (พ.ศ. 1132) ว่า “น้ำพุที่ออกมาจากเขาลิงคบร รพตข้างบนวัดภูใต้นครจำปาศั กดิ์นั้นใช้เป็นน้ำอภิเษก” ในสมัยกรุงศรีอยุธยาปรากฏหล ักฐานการใช้น้ำสำหรับพระราช พิธีบรมราชาภิเษกจากน้ำในสร ะเกษ สระแก้ว สระคา สระยมนา ในแขวงเมืองสุพรรณบุรี เท่านั้น
ต่อมาสมัยรัตนโกสินทร์ในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 จนถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนอ กจากจะใช้น้ำจากแหล่งเดียวก ันกับในสมัยกรุงศรีอยุธยาแล ้ว ยังนำน้ำจากแม่น้ำสายสำคัญอ ีก 5 สาย เรียกกันว่า“เบญจสุทธิคงคา” ซึ่งตักมาจากเมืองต่างๆ ดังนี้
1. น้ำในแม่น้ำเพชรบุรี ตักที่ตำบลท่าไชย จังหวัดเพชรบุรี
2. น้ำในแม่น้ำราชบุรี ตักที่ตำบลดาวดึงส์ จังหวัดสมุทรสงคราม
3. น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ตักที่บางแก้ว จังหวัดอ่างทอง
4. น้ำในแม่น้ำป่าสัก ตักที่ตำบลท่าราบ จังหวัดสระบุรี
5. น้ำในแม่น้ำบางประกง ตักที่ตำบลพระอาจารย์ จังหวัดนครนายก
โดยน้ำแต่ละแห่งจะตั้งพิธีเ สก ณ ปูชนียสถานสำคัญแห่งเมืองนั้น เมื่อเสร็จพิธีแล้วจึงจัดส่ งเข้ามาทำพิธีการต่อที่พระน คร
นอกจากนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสงฆ์เป็นพระครูพระปริ ตไทย 4 รูป สำหรับสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ใ นพิธีสรงมุรธาภิเษก จึงมีน้ำพระพุทธมนต์เพิ่มขึ้นอีกอย่าง
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมรา ชาภิเษก ในปี พ.ศ. 2411 ก็ใช้น้ำเบญจสุทธิคงคา และน้ำในสระ 4 สระ เมืองสุพรรณบุรี เป็นน้ำสรงพระมุรธาภิเษกและ น้ำอภิเษกเช่นเดียวกับเคยใช ้ในรัชกาลก่อนๆ ต่อมาเมื่อพระองค์เสด็จพระร าชดำเนินไปประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2415 ทรงได้นำน้ำปัญจมหานทีที่มี การบันทึกในตำราของพราหมณ์ กลับมายังประเทศสยามด้วย และในปี พ.ศ. 2416 เมื่อพระองค์ได้ทรงกระทำพระ ราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นครั้งที่ 2 น้ำสรงมุรธาภิเษก จึงเพิ่มน้ำปัญจมหานทีลงในน ้ำเบญจสุทธิคงคาและน้ำในสระ ทั้ง 4 ของเมืองสุพรรณบุรีด้วย
เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็ จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชา ภิเษกเมื่อปี พ.ศ. 2453 ทรงใช้น้ำมุรธาภิเษก และน้ำอภิเษกจากแหล่งเดียวก ันกับรัชกาลที่ 5 ต่อมาเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเ กล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราช าภิเษกสมโภชในปี พ.ศ. 2454 นอกจากใช้น้ำเบญจคงคา น้ำปัญจมหานทีและน้ำทั้ง 4 สระจากสุพรรณบุรีแล้ว ยังได้ตักน้ำจากแหล่งอื่นๆ และแม่น้ำตามมณฑลต่างๆ ที่ถือว่าเป็นแหล่งสำคัญและ เป็นสิริมงคล มาตั้งทำพิธีเสกน้ำพุทธมนต์ ณ พระมหาเจดียสถานที่เป็นหลัก พระมหานครโบราณ 7 แห่ง ได้แก่
1. แม่น้ำป่าสัก ตักที่ตำบลท่าราบ ทำพิธีเสกน้ำที่พระพุทธบาท โดยใช้น้ำสรงรอยพระพุทธ ทำพิธีเสกน้ำด้วย โดยถือว่าพระพุทธบาทจังหวัด สระบุรี เป็นปูชนียสานที่สำคัญในมณฑ ลที่เป็นที่ตั้งของเมืองละโ ว้และกรุงศรีอยุธยา
2. น้ำที่ทะเลแก้วและสระแก้ว เมืองพิษณุโลก และน้ำจากสระสองห้อง ทำพิธีที่พระวิหาร พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นปูชยสถานที่สำคัญขอ งหัวเมืองฝ่ายเหนือ
3. น้ำที่กระพังทอง กระพังเงิน กระพังช้างเผือก กระพังไพยสี โซกชมพู่ น้ำบ่อแก้ว น้ำบ่อทอง แขวงเมืองสวรรคโลก ไปทำพิธีในวิหารวัดพระมหาธา ตุ เมืองสวรรคโลก ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ มาแต่ครั้งสมเด็จพระร่วงเจ้ าในสมัยสุโขทัย (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดส ุโขทัย)
4. ตักน้ำในแม่น้ำนครชัยศรี ที่ตำบลบางแก้ว น้ำกลางหาว บนองค์พระปฐมเจดีย์ น้ำสระพระปฐมเจดีย์ น้ำสระน้ำจันทร์ ทำพิธีที่พระปฐมเจดีย์ ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ตั้งแต่สมัยทวารวดี
5. น้ำที่บ่อวัดหน้าพระลาน บ่อวัดเสมาไชย บ่อวัดเสมาเมือง บ่อวัดประตูขาว ห้วยเขามหาชัย และน้ำบ่อปากนาคราช ไปตั้งทำพิธีที่วัดพระมหาธา ตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
6. น้ำที่บ่อทิพย์ เมืองนครลำพูน ตั้งทำพิธีที่วัดพระมหาธาตุ หริภุญไชย ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ คือ นครหริภุญไชย นครเขลางค์ นครเชียงแสน นครเชียงราย นครพระเยา และนครเชียงใหม่
7. น้ำที่บ่อวัดพระธาตุพนม ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระธาตุพ นม จังหวัดนครพนม มณฑลอุดร ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ของเมืองโคตรบูรณ์ในสมัยโบร าณ (ภาคอีสาน) และยังได้ตักน้ำจากแหล่งน้ำ ศักดิ์สิทธิ์ไปตั้งทำพิธีเส กน้ำ ณ วัดสำคัญในมณฑลต่างๆ อีก 10 มณฑล คือ
1. วัดบรมธาตุ และวัดธรรมามูล จังหวัดชัยนาท มณฑลนครสวรรค์
2. น้ำสระมหาชัย น้ำสระหินดาษ ทำพิธีเสกน้ำที่วัดยโสธร เมืองฉะเชิงเทรา มณฑลปราจีนบุรี
3. น้ำสระแก้ว น้ำสระขวัญ น้ำธารปราสาท น้ำสระปักธงชัย ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระนาราย ณ์มหาราช (เดิมชื่อวัดกลาง) จังหวัดนครราชสีมา มณฑลนครราชสีมา
4. น้ำท่าหอชัย น้ำกุดศรีมังคละ น้ำกุดพระฤาชัย ทำพิธีเสกน้ำที่วัดศรีทอง เมืองอุบลราชธานี มณฑลอีสาน
5. น้ำสระแก้ว น้ำธารนารายณ์ ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพลับ เมืองจันทบุรี มณฑลจันทรบุรี
6. ตักน้ำจากแหล่งน้ำสำคัญที่อ ำเภอต่างๆ มาทำพิธีที่วัดพระธาตุ เมืองไชยา มลฑลชุมพร
7. น้ำสระวังพลายบัว น้ำบ่อทอง น้ำบ่อไชย น้ำบ่อฤาษี น้ำสะแก้ว ทำมาพิธีเสกน้ำที่วัดตานีนร -สโมสร เมืองตานี มณฑลปัตตานี
8. น้ำเขาโต๊ะแซะ น้ำเขาต้นไทร ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระทอง เมืองถลาง มณฑลภูเก็ต
9. วัดมหาธาตุ เมืองเพชรบูรณ์ มณฑลเพชรบูรณ์
10. วัดพระมหาธาตุ เมืองเพชรบุรี มณฑลราชบุรี
รวมสถานที่ทำน้ำอภิเษก 17 แห่ง และน้ำอภิเษกนี้ยังคงใช้ในพ ระราชพิธีบรมราชาภิเษกจนกระ ทั่งทุกวันนี้
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ตั้งพิธีทำน้ำอภิเษกที่ห ัวเมืองมณฑลต่างๆ รวม 18 แห่ง ซึ่งสถานที่ตั้งทำน้ำอภิเษก ในรัชกาลนี้ใช้สถานที่เดียว กันกับในสมัยรัชกาลที่ 6 เพียงแต่เปลี่ยนจากวัดมหาธา ตุเมืองเพชรบูรณ์ มาตั้งที่พระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่ และเพิ่มอีกหนึ่งแห่งที่ พระลานชัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเ ดช รัชกาลที่ 9 ได้นำน้ำตามมณฑลต่างๆ 18 แห่ง เช่นเดียวกันกับในสมัยรัชกา ลที่ 7 แต่เปลี่ยนสถานที่จากพระธาต ุช่อแฮ จังหวัดแพร่ มาตักน้ำบ่อแก้ว และทำพิธีเสกน้ำที่พระธาตุแ ช่แห้ง ซึ่งเป็นปูชนียสถานสำคัญในจ ังหวัดน่านแทน
เมื่อได้น้ำอภิเษกที่ได้ตั้ งพิธีเสก ณ มหาเจดียสถานและพระอารามต่า งๆ แล้ว เจ้าหน้าที่จะนำมายังพระนคร ก่อนหน้ากำหนดการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก โดยอัญเชิญตั้งไว้ในพระอุโบ สถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนกว่าจะถึงวันงานจึงอัญเชิ ญเข้าพิธีสวดพุทธมนต์ เสกน้ำ ณ พระที่นั่งดุสิดาภิรมย์ต่อไ ป
อาจกล่าวได้ว่า น้ำถือเป็นสิ่งสำคัญและเป็น ส่วนหนึ่งในพระราชพิธีบรมรา ชาภิเษก ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ ์-ฮินดูที่นับถือพระอิศวร ซึ่งพระองค์ประทับ ณ เขาไกรลาศ จึงเชื่อกันว่า น้ำที่มาจากเขานี้เป็นน้ำที ่ศักดิ์สิทธิ์ จึงนำมาประกอบในพระราชพิธีบ รมราชาภิเษกของกษัตริย์ เพื่อแสดงถึงการมีอำนาจเป็น ผู้ปกครองอย่างสมบูรณ์แบบ
ถึงแม้ว่าการนำน้ำจากปัญจมห านที เป็นไปได้ยากมากในอดีต จึงมีการหาแหล่งน้ำที่สำคัญ ๆ เพื่อใช้แทนน้ำปัญจมหานทีจา กอินเดีย
โดยในประเทศไทยพบว่า พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัย อยุธยามีการนำน้ำมาจากสระทั้ง 4 ในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกส ินทร์มีการนำน้ำจากแหล่งต่า งๆ เพิ่มอีก 5 สาย เรียกว่า เบญจสุทธิคงคา
จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 5 ในคราวที่เสด็จเยือนประเทศอ ินเดียจึงได้มีการนำน้ำปัญจ มหานทีมาเป็นน้ำอภิเษกเพิ่ม และในสมัยรัชกาลที่ 6 พบว่ามีการนำน้ำจากแหล่งต่า งๆ ตั้งพิธีเสก ณ มหาเจดียสถานสำคัญๆ จำนวน 7 แห่ง และจากวัดต่างๆ ใน 10 มณฑล
ซึ่งจะเห็นได้ว่า แหล่งน้ำเหล่านี้มาจากทั่วท ุกภาคของไทย อาจมีความหมายเป็นนัยของ
การ ถวายพระราชอำนาจแด่องค์พระม หากษัตริย์โดยใช้น้ำอภิเษกเ ป็นสัญลักษณ์
พระมหากษัตริย์ที่จะขึ้น เถลิงถวัลย์ราชสมบัติ ในขั้นตอนการเตรียมพิธีจะต้ องมีการตักน้ำจากแหล่งสำคัญสำหรับนำมาเป็นน้ำสรงพระมุร ธาภิเษก และเพื่อทำน้ำอภิเษกก่อนที่ จะนำไปประกอบในพระราชพิธีบร มราชาภิเษก ซึ่งน้ำที่นำมาจะต้องมีความ พิเศษกว่าน้ำธรรมดาทั่วไป
โดยตามตำราโบราณของพราหมณ์ จะต้องเป็นน้ำที่มาจาก “ปัญจมหานที” หรือ แม่น้ำสายสำคัญ 5 สายในชมพูทวีป ได้แก่ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมนา แม่น้ำมทิ แม่น้ำอจิรวดี และแม่น้ำสรภู โดยน้ำในแม่น้ำทั้ง 5 จะไหลมาจากเขาไกรลาส ซึ่งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิท ธิ์และที่สถิตของพระอิศวร
สมัยสุโขทัยมาจนถึงสมัยอยุธ ยาแม้จะมีการกล่าวถึงพระราช พิธีบรมราชาภิเษก แต่ก็ไม่พบหลักฐานการนำน้ำป ัญจมหานทีในชมพูทวีปมาใช้ใน ราชพิธี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าการเดิน ทางไปกลับระหว่างประเทศไทยใ นอดีตและประเทศอินเดียเป็นไ ปได้ยากที่จะนำน้ำจากปัญจมห านทีมาใช้ได้ เพราะตามธรรมเนียมประเพณีมา แต่เดิม เมื่อกษัตริย์พระองค์ใดเสด็ จผ่านพิภพ จะต้องทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกภายใน 7 วัน หรืออย่างช้าภายในเดือนเศษ เป็นประเพณีสืบมาและกระทำกั นก่อนที่จะถวายพระราชเพลิงพ ระบรมศพพระเจ้าแผ่นดินองค์ก ่อน จึงสันนิษฐานได้ว่า ถ้าจะนำน้ำมาจากชมพูทวีปจึง เป็นไปไม่ได้
แต่จากหลักฐานการใช้น้ำศักด ิ์สิทธิ์มาใช้ในพระราชพิธีบ รมราชาภิเษกก็ปรากฏในหลักศิ ลาจารึกวัดศรีชุมของพญาลิไท แห่งสุโขทัยที่ได้กล่าวถึงพ ่อขุนผาเมืองอภิเษกพ่อขุนบา งกลางหาวให้เป็นผู้ปกครองสุ โขทัย และข้อความในศิลาจารึก (พ.ศ. 1132) ว่า “น้ำพุที่ออกมาจากเขาลิงคบร รพตข้างบนวัดภูใต้นครจำปาศั กดิ์นั้นใช้เป็นน้ำอภิเษก” ในสมัยกรุงศรีอยุธยาปรากฏหล ักฐานการใช้น้ำสำหรับพระราช พิธีบรมราชาภิเษกจากน้ำในสร ะเกษ สระแก้ว สระคา สระยมนา ในแขวงเมืองสุพรรณบุรี เท่านั้น
แต่จากหลักฐานการใช้น้ำศักด
ต่อมาสมัยรัตนโกสินทร์ในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 จนถึงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนอ กจากจะใช้น้ำจากแหล่งเดียวก ันกับในสมัยกรุงศรีอยุธยาแล ้ว ยังนำน้ำจากแม่น้ำสายสำคัญอ ีก 5 สาย เรียกกันว่า“เบญจสุทธิคงคา” ซึ่งตักมาจากเมืองต่างๆ ดังนี้
1. น้ำในแม่น้ำเพชรบุรี ตักที่ตำบลท่าไชย จังหวัดเพชรบุรี
2. น้ำในแม่น้ำราชบุรี ตักที่ตำบลดาวดึงส์ จังหวัดสมุทรสงคราม
3. น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ตักที่บางแก้ว จังหวัดอ่างทอง
4. น้ำในแม่น้ำป่าสัก ตักที่ตำบลท่าราบ จังหวัดสระบุรี
5. น้ำในแม่น้ำบางประกง ตักที่ตำบลพระอาจารย์ จังหวัดนครนายก
โดยน้ำแต่ละแห่งจะตั้งพิธีเ สก ณ ปูชนียสถานสำคัญแห่งเมืองนั้น เมื่อเสร็จพิธีแล้วจึงจัดส่ งเข้ามาทำพิธีการต่อที่พระน คร
นอกจากนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระสงฆ์เป็นพระครูพระปริ ตไทย 4 รูป สำหรับสวดทำน้ำพระพุทธมนต์ใ นพิธีสรงมุรธาภิเษก จึงมีน้ำพระพุทธมนต์เพิ่มขึ้นอีกอย่าง
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมรา ชาภิเษก ในปี พ.ศ. 2411 ก็ใช้น้ำเบญจสุทธิคงคา และน้ำในสระ 4 สระ เมืองสุพรรณบุรี เป็นน้ำสรงพระมุรธาภิเษกและ น้ำอภิเษกเช่นเดียวกับเคยใช ้ในรัชกาลก่อนๆ ต่อมาเมื่อพระองค์เสด็จพระร าชดำเนินไปประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2415 ทรงได้นำน้ำปัญจมหานทีที่มี การบันทึกในตำราของพราหมณ์ กลับมายังประเทศสยามด้วย และในปี พ.ศ. 2416 เมื่อพระองค์ได้ทรงกระทำพระ ราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นครั้งที่ 2 น้ำสรงมุรธาภิเษก จึงเพิ่มน้ำปัญจมหานทีลงในน ้ำเบญจสุทธิคงคาและน้ำในสระ ทั้ง 4 ของเมืองสุพรรณบุรีด้วย
เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็ จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชา ภิเษกเมื่อปี พ.ศ. 2453 ทรงใช้น้ำมุรธาภิเษก และน้ำอภิเษกจากแหล่งเดียวก ันกับรัชกาลที่ 5 ต่อมาเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเ กล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราช าภิเษกสมโภชในปี พ.ศ. 2454 นอกจากใช้น้ำเบญจคงคา น้ำปัญจมหานทีและน้ำทั้ง 4 สระจากสุพรรณบุรีแล้ว ยังได้ตักน้ำจากแหล่งอื่นๆ และแม่น้ำตามมณฑลต่างๆ ที่ถือว่าเป็นแหล่งสำคัญและ เป็นสิริมงคล มาตั้งทำพิธีเสกน้ำพุทธมนต์ ณ พระมหาเจดียสถานที่เป็นหลัก พระมหานครโบราณ 7 แห่ง ได้แก่
1. แม่น้ำป่าสัก ตักที่ตำบลท่าราบ ทำพิธีเสกน้ำที่พระพุทธบาท โดยใช้น้ำสรงรอยพระพุทธ ทำพิธีเสกน้ำด้วย โดยถือว่าพระพุทธบาทจังหวัด สระบุรี เป็นปูชนียสานที่สำคัญในมณฑ ลที่เป็นที่ตั้งของเมืองละโ ว้และกรุงศรีอยุธยา
2. น้ำที่ทะเลแก้วและสระแก้ว เมืองพิษณุโลก และน้ำจากสระสองห้อง ทำพิธีที่พระวิหาร พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเป็นปูชยสถานที่สำคัญขอ งหัวเมืองฝ่ายเหนือ
3. น้ำที่กระพังทอง กระพังเงิน กระพังช้างเผือก กระพังไพยสี โซกชมพู่ น้ำบ่อแก้ว น้ำบ่อทอง แขวงเมืองสวรรคโลก ไปทำพิธีในวิหารวัดพระมหาธา ตุ เมืองสวรรคโลก ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ มาแต่ครั้งสมเด็จพระร่วงเจ้ าในสมัยสุโขทัย (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดส ุโขทัย)
4. ตักน้ำในแม่น้ำนครชัยศรี ที่ตำบลบางแก้ว น้ำกลางหาว บนองค์พระปฐมเจดีย์ น้ำสระพระปฐมเจดีย์ น้ำสระน้ำจันทร์ ทำพิธีที่พระปฐมเจดีย์ ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ตั้งแต่สมัยทวารวดี
5. น้ำที่บ่อวัดหน้าพระลาน บ่อวัดเสมาไชย บ่อวัดเสมาเมือง บ่อวัดประตูขาว ห้วยเขามหาชัย และน้ำบ่อปากนาคราช ไปตั้งทำพิธีที่วัดพระมหาธา ตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช
6. น้ำที่บ่อทิพย์ เมืองนครลำพูน ตั้งทำพิธีที่วัดพระมหาธาตุ หริภุญไชย ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ คือ นครหริภุญไชย นครเขลางค์ นครเชียงแสน นครเชียงราย นครพระเยา และนครเชียงใหม่
7. น้ำที่บ่อวัดพระธาตุพนม ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระธาตุพ นม จังหวัดนครพนม มณฑลอุดร ซึ่งเป็นปูชนียสถานที่สำคัญ ของเมืองโคตรบูรณ์ในสมัยโบร าณ (ภาคอีสาน) และยังได้ตักน้ำจากแหล่งน้ำ ศักดิ์สิทธิ์ไปตั้งทำพิธีเส กน้ำ ณ วัดสำคัญในมณฑลต่างๆ อีก 10 มณฑล คือ
7. น้ำที่บ่อวัดพระธาตุพนม ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระธาตุพ
1. วัดบรมธาตุ และวัดธรรมามูล จังหวัดชัยนาท มณฑลนครสวรรค์
2. น้ำสระมหาชัย น้ำสระหินดาษ ทำพิธีเสกน้ำที่วัดยโสธร เมืองฉะเชิงเทรา มณฑลปราจีนบุรี
3. น้ำสระแก้ว น้ำสระขวัญ น้ำธารปราสาท น้ำสระปักธงชัย ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระนาราย ณ์มหาราช (เดิมชื่อวัดกลาง) จังหวัดนครราชสีมา มณฑลนครราชสีมา
4. น้ำท่าหอชัย น้ำกุดศรีมังคละ น้ำกุดพระฤาชัย ทำพิธีเสกน้ำที่วัดศรีทอง เมืองอุบลราชธานี มณฑลอีสาน
5. น้ำสระแก้ว น้ำธารนารายณ์ ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพลับ เมืองจันทบุรี มณฑลจันทรบุรี
6. ตักน้ำจากแหล่งน้ำสำคัญที่อ ำเภอต่างๆ มาทำพิธีที่วัดพระธาตุ เมืองไชยา มลฑลชุมพร
7. น้ำสระวังพลายบัว น้ำบ่อทอง น้ำบ่อไชย น้ำบ่อฤาษี น้ำสะแก้ว ทำมาพิธีเสกน้ำที่วัดตานีนร -สโมสร เมืองตานี มณฑลปัตตานี
8. น้ำเขาโต๊ะแซะ น้ำเขาต้นไทร ทำพิธีเสกน้ำที่วัดพระทอง เมืองถลาง มณฑลภูเก็ต
9. วัดมหาธาตุ เมืองเพชรบูรณ์ มณฑลเพชรบูรณ์
10. วัดพระมหาธาตุ เมืองเพชรบุรี มณฑลราชบุรี
รวมสถานที่ทำน้ำอภิเษก 17 แห่ง และน้ำอภิเษกนี้ยังคงใช้ในพ ระราชพิธีบรมราชาภิเษกจนกระ ทั่งทุกวันนี้
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ตั้งพิธีทำน้ำอภิเษกที่ห ัวเมืองมณฑลต่างๆ รวม 18 แห่ง ซึ่งสถานที่ตั้งทำน้ำอภิเษก ในรัชกาลนี้ใช้สถานที่เดียว กันกับในสมัยรัชกาลที่ 6 เพียงแต่เปลี่ยนจากวัดมหาธา ตุเมืองเพชรบูรณ์ มาตั้งที่พระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่ และเพิ่มอีกหนึ่งแห่งที่ พระลานชัย จังหวัดร้อยเอ็ด
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเ ดช รัชกาลที่ 9 ได้นำน้ำตามมณฑลต่างๆ 18 แห่ง เช่นเดียวกันกับในสมัยรัชกา ลที่ 7 แต่เปลี่ยนสถานที่จากพระธาต ุช่อแฮ จังหวัดแพร่ มาตักน้ำบ่อแก้ว และทำพิธีเสกน้ำที่พระธาตุแ ช่แห้ง ซึ่งเป็นปูชนียสถานสำคัญในจ ังหวัดน่านแทน
เมื่อได้น้ำอภิเษกที่ได้ตั้ งพิธีเสก ณ มหาเจดียสถานและพระอารามต่า งๆ แล้ว เจ้าหน้าที่จะนำมายังพระนคร ก่อนหน้ากำหนดการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก โดยอัญเชิญตั้งไว้ในพระอุโบ สถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนกว่าจะถึงวันงานจึงอัญเชิ ญเข้าพิธีสวดพุทธมนต์ เสกน้ำ ณ พระที่นั่งดุสิดาภิรมย์ต่อไ ป
อาจกล่าวได้ว่า น้ำถือเป็นสิ่งสำคัญและเป็น ส่วนหนึ่งในพระราชพิธีบรมรา ชาภิเษก ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ ์-ฮินดูที่นับถือพระอิศวร ซึ่งพระองค์ประทับ ณ เขาไกรลาศ จึงเชื่อกันว่า น้ำที่มาจากเขานี้เป็นน้ำที ่ศักดิ์สิทธิ์ จึงนำมาประกอบในพระราชพิธีบ รมราชาภิเษกของกษัตริย์ เพื่อแสดงถึงการมีอำนาจเป็น ผู้ปกครองอย่างสมบูรณ์แบบ
ถึงแม้ว่าการนำน้ำจากปัญจมห านที เป็นไปได้ยากมากในอดีต จึงมีการหาแหล่งน้ำที่สำคัญ ๆ เพื่อใช้แทนน้ำปัญจมหานทีจา กอินเดีย
โดยในประเทศไทยพบว่า พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัย อยุธยามีการนำน้ำมาจากสระทั้ง 4 ในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกส ินทร์มีการนำน้ำจากแหล่งต่า งๆ เพิ่มอีก 5 สาย เรียกว่า เบญจสุทธิคงคา
จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 5 ในคราวที่เสด็จเยือนประเทศอ ินเดียจึงได้มีการนำน้ำปัญจ มหานทีมาเป็นน้ำอภิเษกเพิ่ม และในสมัยรัชกาลที่ 6 พบว่ามีการนำน้ำจากแหล่งต่า งๆ ตั้งพิธีเสก ณ มหาเจดียสถานสำคัญๆ จำนวน 7 แห่ง และจากวัดต่างๆ ใน 10 มณฑล
ซึ่งจะเห็นได้ว่า แหล่งน้ำเหล่านี้มาจากทั่วท ุกภาคของไทย อาจมีความหมายเป็นนัยของ
การ ถวายพระราชอำนาจแด่องค์พระม หากษัตริย์โดยใช้น้ำอภิเษกเ ป็นสัญลักษณ์
การ
ไม่มีความคิดเห็น